ระดับปริญญาเอก

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้

(Doctor of Philosophy Program in Educational Science and Learning Management)

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559)

 

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย :       หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้

ภาษาอังกฤษ :   Doctor of Philosophy Program in Educational Science and Learning Management

 

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ภาษาไทย        ชื่อเต็ม: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้)

ชื่อย่อ: ปร.ด. (วิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้)

ภาษาอังกฤษ     ชื่อเต็ม: Doctor of Philosophy (Educational Science and Learning Management)

ชื่อย่อ: Ph.D. (Educational Science and Learning Management)

 

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

ทำปริญญานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และศึกษารายวิชาต่างๆ อีกไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต

 

โครงสร้างหลักสูตร

หมวดวิชา

หน่วยกิต
  หมวดวิชาบังคับ 9
  หมวดวิชาเลือก  ไม่น้อยกว่า 3
  ปริญญานิพนธ์ 36
รวมไม่น้อยกว่า

48

หมายเหตุ 

  1. ผู้ที่ไม่มีความรู้พื้นฐานทางการศึกษา กำหนดให้เรียนรายวิชาสำหรับผู้ไม่มีความรู้พื้นฐานทางการศึกษาเพิ่มเติม ตามที่กำหนดให้ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต ผู้ที่ไม่มีความรู้พื้นฐานทางการศึกษา หมายถึง ผู้ที่ไม่ได้สำเร็จการศึกษาปริญญาบัณฑิต ปริญญามหาบัณฑิต หรือปริญญาดุษฎีบัณฑิตทางการศึกษา
  2. ผู้ที่มีประสบการณ์ในการวิจัยน้อย กำหนดให้เลือกเรียนรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับสถิติและการวิจัยทางการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
  3. ผู้ที่มีประสบการณ์ในการวิจัยน้อย หมายถึง ผู้ที่มีประสบการณ์ในการทำวิจัยในรูปแบบสารนิพนธ์ หรือมีผลงานทำปริญญานิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษา หรือมีผลงานวิจัยทางการศึกษาจากการศึกษารายวิชาต่าง ๆ ในระดับปริญญาโทที่ต่อเนื่องกันรวมกันแล้ว น้อยกว่า 12 หน่วยกิต แต่ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

ในกรณีที่ผู้ที่เข้าศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต หากไม่ประสงค์สำเร็จการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต หรือสอบไม่ผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) และประสงค์จะขอสำเร็จการศึกษาระดับมหาบัณฑิต ให้ทำปริญญานิพนธ์ มีค่าเทียบได้ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และศึกษารายวิชาต่างๆ ตามหลักสูตรมหาบัณฑิตอีกไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต ทั้งนี้รายวิชาที่ศึกษาไปแล้วในระดับดุษฎีบัณฑิตสามารถเทียบโอนได้ โดยผ่านการเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยการดำเนินการให้เป็นไปตามเกณฑ์การสำเร็จการศึกษามหาบัณฑิต ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2554

รายวิชา
1. รายวิชาสำหรับผู้ที่มีความรู้พื้นฐานทางการศึกษาน้อย กำหนดให้เรียนรายวิชาทางการศึกษา จำนวน  6 หน่วยกิต ดังนี้

วกจ  701 ทฤษฎีและปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตร 3 (3-0-6)
SEM 701 Theory and Practice of Curriculum Development
วกจ 702 วิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ 3 (3-0-6)
SEM 702 Educational Science and Learning Management

2. รายวิชาสำหรับผู้มีประสบการณ์ในการวิจัยน้อย กำหนดให้เรียน 6 หน่วยกิต  จากรายวิชาดังต่อไปนี้

วกจ  703 วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา 3 (2-2-5)
SEM 703 Educational Research Methodology
วกจ 704 สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษา 3 (2-2-5)
SEM 704 Statistics for Educational Research

 3. หมวดวิชาบังคับ จำนวน 9 หน่วยกิต ดังนี้

วกจ 801 สัมมนาประเด็นปัญหาวิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ 3 (2-2-5)
SEM 801 Seminar on Issues and Problems in Educational Science and Learning Management
วกจ 802 สัมมนาปัญหาและการวิจัยทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้

เพื่อการพัฒนา

3 (2-2-5)
SEM 802 Seminar on Problems and Educational Research in Learning Management for Development
วกจ 803 การวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษาขั้นสูง 3 (2-2-5)
SEM 803 Advanced  in Educational Research and Data Analysis

 

4. หมวดวิชาเลือก  ให้เลือกเรียน จำนวนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต ดังนี้

วกจ 811 ผู้นำทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ 3 (2-2-5)
SEM 811 Leadership in Education and Learning Management
วกจ 812 การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างสันติภาพและแก้ปัญหาความขัดแย้ง 3 (3-0-6)
SEM 812 Educational Management for Promoting Peace and Conflict Solving
วกจ 813 สัมมนาการวิจัยและการพัฒนาหลักสูตรสำหรับเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ 3 (2-2-5)
SEM 813 Seminar on Research and Curriculum Development for Children with Learning Problems
วกจ 814 สัมมนามาตรฐานและการประกันคุณภาพทางการศึกษา 3(2-2-5
SEM 814 Seminar on Educational Standards and Quality Assurance
วกจ 815 สัมมนานโยบายและการวางแผนทางการศึกษา 3(2-2-5)
SEM 815 Seminar on Educational Policy and Educational Planning
วกจ 816 สัมมนาการศึกษาพหุวัฒนธรรม 3(2-2-5)
SEM 816 Seminar on Multic

ltural Education

วกจ 817 สัมมนามาตรฐานและคุณธรรมวิชาชีพทางการศึกษา 3(2-2-5)
SEM 817 Seminar in Educational Standards and Professional Ethics

5. ปริญญานิพนธ์   จำนวน   36    หน่วยกิต

วกจ 931 ปริญญานิพนธ์ 1 12 หน่วยกิต
SEM 931 Dissertation 1
วกจ 932 ปริญญานิพนธ์ 2 12 หน่วยกิต
SEM 932 Dissertation 2
วกจ 933 ปริญญานิพนธ์ 3 12 หน่วยกิต
SEM 933 Dissertation 3
แผนการจัดการศึกษาระดับปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

ปีที่  1 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
วกจ 801

วกจ 802

 

สัมมนาประเด็นปัญหาวิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้

สัมมนาปัญหาและการวิจัยทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้

เพื่อการพัฒนา

3(2-2-5)

3(2-2-5)

 

รวมจำนวนหน่วยกิต 6

 

ปีที่  1 ภาคเรียนที่ 2
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
วกจ 803วกจ … การวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษาขั้นสูง

วิชาเอกเลือก

3 (2-2-5)

3 (……..)

รวมจำนวนหน่วยกิต 6

 

ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1-2 และปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1   
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
วกจ 931

วกจ 932

วกจ 933

ปริญญานิพนธ์ 1

ปริญญานิพนธ์ 2

ปริญญานิพนธ์ 3

12

12

12

รวมจำนวนหน่วยกิต 36

หมายเหตุ

  1. ปริญญานิพนธ์ เป็นการวิจัยเป็นรายบุคคล เป็นH่งต่างๆที่มีอยู่แล้วให้มีคุณภาพ เป็นประโยชน์ต่อบุคคล สังคมและประเทศชาติการวิจัยทางการศึกษาขั้นสูงด้านวิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้sisal การจัดการเรียนรู้ โดยการแสวงหา ค้นคว้าข้อมูลจากการศึกษาและสงเคราะห์เอกสาร ตำราและ
    แหล่งความรู้ต่างๆ การศึกษาและปฏิบัติงานทางการศึกษา ประมวลเป็นความคิดเพื่อสร้างสรรค์ผลงานและข้อเสนอโครงการปริญญานิพนธ์ เพื่อนำไปสู่การค้นพบความรู้ใหม่ ความคิดใหม่ วิธีการใหม่ หรือการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง แก้ไขพัฒนาสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่แล้วให้มีคุณภาพ เป็นประโยชน์ต่อบุคคล สังคมและประเทศชาติ สามารถเขียนเอกสารวิชาการและเผยแพร่องค์ความรู้ที่ค้นพบได้อย่างมีคุณภาพ
  2. การศึกษาดูงาน ผู้เรียนอาจไปศึกษาดูงานในหรือต่างประเทศ โดยกำหนดวัตถุประสงค์และประเด็นของการศึกษาให้เชื่อมโยงกับศาสตร์สาขาวิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ของผู้เรียน

 

คณะกรรมการบริหารหลักสูตร

ลำดับ ตำแหน่งและรายชื่อคณาจารย์ คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด (สาขาวิชา) ปีที่จบ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา
1   อ.ดร.รุ่งทิวา แย้มรุ่ง

ประธานกรรมการ

กศ.ด. (คณิตศาสตรศึกษา),  2550 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2 รศ.ดร.ประพันธ์ศิริ  สุเสารัจ

 กรรมการ

กศ.ด. (พัฒนศึกษาศาสตร์), 2539 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
3 รศ.ดร.อัจฉรา  วัฒนาณรงค์

กรรมการ

Ph.D. (Higher Education) – 2553 University of North Texas, U.S.A.
4 ผศ.ดร.กิตติชัย  สุธาสิโนบล

กรรมการ

ศษ.ด. (หลักสูตรและการสอน), 2553 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
5 อ.ดร.ดวงใจ  สีเขียว

กรรมการ

ค.ด. (การวัดและประเมินผลการศึกษา), 2550 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6   ผศ.ดร.ศุภวรรณ  สัจจพิบูล

กรรมการ

ค.ด. (หลักสูตรและการสอน), 2553 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
7 ผศ.ดร.ลัดดา  หวังภาษิต

กรรมการ

กศ.ด.(การวิจัยและพัฒนาลักสูตร), 2556 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
8 อ.ดร.วันเพ็ญ  ประทุมทอง

กรรมการ

กศ.ด. (วิทยาศาสตรศึกษา),  2554 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
9 ผศ.ดร.วิไลลักษณ์  ลังกา

กรรมการ

วท.ด. (วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์),2554 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
10 อ.ดร.อาทิตย์  โพธิ์ศรีทอง

กรรมการและเลขานุการ

ปร.ด. (วิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้)

, 2558

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

 

อาจารย์ประจำหลักูตร

ลำดับ ตำแหน่งและรายชื่อคณาจารย์ คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด (สาขาวิชา) ปีที่จบ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา
1 รศ.ดร.ประพันธ์ศิริ  สุเสารัจ กศ.ด. (พัฒนศึกษาศาสตร์), 2539 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2 รศ.ดร.สิริมา  ภิญโญอนันตพงษ์ Ph.D. (Elementary, Early Childhood), 2532 University of Iowa, U.S.A.
3 รศ.ดร.สุนีย์  เหมะประสิทธิ์ กศ.ด.(การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร), 2533 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
4 อ.ดร.รุ่งทิวา  แย้มรุ่ง กศ.ด. (คณิตศาสตรศึกษา), 2550 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
5 อ.ดร.ดวงใจ  สีเขียว ค.ด. (การวัดและประเมินผลการศึกษา), 2550 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6 ผศ.ดร.กิตติชัย  สุธาสิโนบล ศษ.ด. (หลักสูตรและการสอน), 2553 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
7 ผศ.ดร.พรทิพย์ ศิริภัทราชัย กศ.ด. (วิทยาศาสตรศึกษา), 2549 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
8 ผศ.ดร.ชมนาด  เชื้อสุวรรณทวี ปร.ด. (หลักสูตรและการสอน), 2555 มหาวิทยาลัยศิลปากร
9 อ.ดร.กนกพร   วิบูลพัฒนะวงศ์ Ph.D. (Education), 2556 University of Sydney, Australia
10 อ.ดร.เกศินี  ครุณาสวัสดิ์ ค.ด. (หลักสูตรและการสอน), 2556 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
11 อ.ดร.รุ่งอรุณ  โรจน์รัตนาดำรง  ไชยศรี ปร.ด. (ภาษาไทย), 2557 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
12 ผศ.ดร.ลัดดา  หวังภาษิต กศ.ด.(การวิจัยและพัฒนาลักสูตร), 2556 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
13 อ.ดร.วันเพ็ญ  ประทุมทอง กศ.ด. (วิทยาศาสตรศึกษา), 2554 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
14 ผศ.ดร.วิไลลักษณ์  ลังกา วท.ด. (วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์),2554 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
15 ผศ.ดร.ประพิมพ์พงศ์  วัฒนะรัตน์ ศษ.ด. (การบริหารการศึกษาพิเศษ), 2557 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
16 ผศ.ดร.ศุภวรรณ  สัจจพิบูล ค.ด. (หลักสูตรและการสอน), 2553 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
17 อ.ดร.สุณิสา  สุมิรัตนะ ค.ด. (หลักสูตรและการสอน), 2556 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
18 ผศ.ดร.อรอุมา   เจริญสุข ค.ด. (วิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา), 2552 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
19 อ.ดร.อาทิตย์  โพธิ์ศรีทอง ปร.ด. (วิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้),2558 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
20 อ.ดร.นฤมล  ศิระวงษ์ กศ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา), 2547 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
21 ผศ.ดร.รัฐพล  ประดับเวทย์ กศ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา), 2551 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
22 ผศ.ดร.นัทธีรัตน์  พีระพันธุ์ ศษ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา), 2553 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
23 อ.ดร.แจ่มจันทร์ ศรีอรุณรัศมี ค.ด.(เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา),2555 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 

อาจารย์พิเศษ

ลำดับ ตำแหน่งและรายชื่อคณาจารย์ คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด (สาขาวิชา) ปีที่จบ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา
1 ศ.ดร.จรรจา  สุวรรณทัต Ed.D. (Education Psychology), 2502 University of Colorado,U.S.A.
2 ศ.ดร.นงลักษณ์  วิรัชชัย Ph.D. (Education), 2523 The University of Chicago, U.S.A.
3 ศ.ดร.สิริวรรณ  ศรีพหล Ph.D. (Social Studies Education),  2506 University of Missouri-Columbia, U.S.A.
4 ศ.ดร.อารี  สัณหฉวี Ed.D  (Curriculum and Teaching Education),2506 Columbia University, U.S.A.
5 รศ.ดร.ฉวีวรรณ  เศวตมาลย์ Ed.D. (Mathematics Education),  2527 Auburn University, U.S.A.
6 รศ.ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ Ed.D. (Teacher Education), 2518

Post-doc (Curriculum and  Instruction), 2521

University of Georgia, U.S.A.

Indiana university, U.S.A.

7 รศ.ดร.ศักดิ์ชัย นิรัญทวี กศ.ด. (พัฒนศึกษาศาสตร์), 2532 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
8 รศ.ดร.สมชาย  ชูชาติ Ph.D. (Mathematics Education and Computer), 2528 University of Alberta, Canada
9 รศ. ดร. อัจฉรา  วัฒนาณรงค์ Ph.D. (Higher Education) – 2553 University of North Texas, U.S.A.
10 อ.ดร.พรพิมล  ประสงค์พร ค.ด. (หลักสูตรและการสอน), 2548 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย